LAW WATCH

Loading...

กฎหมาย คือกติการ่วมกันของคนในสังคม
ที่มาของกฎหมายควรต้องมาจากกระบวนการซึ่งยึดโยงประชาชนไม่ว่าจะในทางตรงหรือทางอ้อม
และพรรคการเมืองคือส่วนหนึ่งของกลไกที่ทำให้กฎหมายมีที่มายึดโยงกับประชาชน
กฎหมายจะออกใช้ได้ ต้องผ่านมือ ส.ส. ของพรรคการเมือง ที่ประชาชนเลือกตั้งเสมอ

การที่ร่างกฎหมายจะออกเป็นกฎหมายได้ ต้องผ่าน กระบวนการทางสภา ดังนี้

ก่อนเข้าสภา

ต่อมาก็จะผ่านเข้ามาในสภา

แล้วก็จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา
บังคับใช้เป็นกฎหมาย

สังเกตได้ว่า ส.ส. จากพรรคการเมือง
ที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชน
มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการ
ออกกฎหมายทุกช่องทาง

ก่อนเข้าสภา ทำการเสนอร่างกฎหมาย
ในสภา ส.ส. ทำการโหวต

ร่างกฎหมายที่ถูกเสนอเพื่อพิจารณาในสมัยรัฐบาลประยุทธ์ จันทร์โอชา 2
ทั้งหมด 427 ฉบับ

สถานะกฎหมาย
ตกไป 132
อยู่ในกระบวนการ 201
ออกเป็นกฎหมาย 94
กฎหมายที่ถูกรวมร่าง
เสนอโดย
ถูกเสนอโดย
พรรคการเมือง
243 ฉบับ
คณะรัฐมนตรี
99 ฉบับ
ประชาชน
85 ฉบับ
ปี พ.ศ.
สถานะกฎหมาย
ตกไป 132
อยู่ในกระบวนการ 201
ออกเป็นกฎหมาย 94
กฎหมายที่ถูกรวมร่าง
  1. * นับจากปีที่ข้อมูลการยื่นเสนอร่างกฎหมายเผยแพร่ต่อสาธารณะ
  2. ** มีร่างกฎหมายที่ถูกเสนอตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 กินระยะเวลานานรวมอยู่ด้วย 3 ฉบับ
  3. *** Update ข้อมูลร่างกฎหมายล่าสุดวันที่ 28 ก.พ. 2566
ส.ส. จากพรรคการเมือง เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ออกกฎหมายทั้งหมด ในระยะเวลา 3 ปีกว่า ของสภาชุดนี้
เรื่องนี้สะท้อนว่าการทำ หน้าที่ของ ส.ส. ที่ถูกเลือกตั้ง เข้าสภา เกี่ยวข้องกับ ประชาชน อย่างเรา ๆ มาตลอด
ซึ่ง ส.ส. ทุกคนมาจาก คะแนนเสียงของ ประชาชน

ดังนั้น การทำงานกระบวนการออกกฎหมาย
ของบรรดา ส.ส. จากพรรคการเมืองต่าง ๆ ในสภาชุดนี้
คือตัวช่วยตัดสินใจอย่างหนึ่ง สำหรับประชาชนว่า

เราควรจะเลือก หรือไม่เลือกใคร ในการเลือกตั้งครั้งถัดไป

  • พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียม
  • พ.ร.บ. กัญชาเสรี
  • ยกเลิก ส.ว.