WeVis: We visualise data for democracy

Who we are

WeVis is a civic technology aiming to empower people to reclaim an active role in political life through technology and open data. We curate, analyze and visualize any relevant data to make democracy more open and more transparent, encouraging people to express their opinions and make better decisions. Our team is comprised of the same folks behind Punch Up, a data storytelling consulting and studio, and friends.

What we care about

Power of People

We believe our society does belong to the people and is driven by information and participation. We do what needs to be done with courage and integrity.

Openness

We conduct our work with code and data released under open licenses, while calling for open government data. We undertake to be open, honest and accountable in our relationships with everyone we work with.

Collaboration

We are open for collaboration with groups and individuals who share our goals. We foster a supportive environment for our volunteers and partners, respect diversity, and encourage healthy and constructive debate.

ออกนอกกรุงเทพฯ เมื่อไหร่ การเดินทางแบบไม่ใช้รถส่วนตัวก็กลายเป็นเรื่องยาก ชวนสำรวจสารพัดความ “สัญจรไม่สำราญ” ในต่างจังหวัดผ่านชุดข้อมูลสาธารณะ
Napat Taetao
ครั้งแล้ว… ครั้งเล่า… ที่ ‘ใต้จมูก’ของเรา มีผู้พลัดถิ่นหรือผู้ลี้ภัยถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือว่า ‘ที่ปลอดภัย’ สำหรับพวกเขา อาจไม่มีอยู่จริง? 10 ปีที่ผ่านมา คุณคิดว่าอาชญากรรมข้ามชาติที่กระทำโดยรัฐ เกิดขึ้นไปแล้วกี่ครั้งในภูมิภาคอาเซียน? เส้นเวลาที่จะว่าสั้นก็ไม่สั้น จะว่ายาวก็ไม่ยาว แต่กลับคลาคล่ำไปด้วยปรากฏการณ์ ‘การกดปราบข้ามชาติ’ อาชญากรรมที่เป็นเสมือน ‘เสียงเท้าของรัฐในเงามืด’ ที่คืบคลานข้ามพรมแดนไปถึงบรรดาผู้พลัดถิ่นหรือผู้ลี้ภัย เพื่อข่มขู่ เพื่อปิดปาก หรือแม้แต่เพื่อพรากลมหายใจ ไม่ใช่หนึ่ง ไม่ใช่สอง แต่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทุกเหตุการกดปราบข้ามชาติ เป็นการย้ำเตือนว่า ‘สถานที่ปลอดภัย’ อาจไม่มีอยู่จริงสำหรับผู้ที่ท้าทายอำนาจรัฐ 🔎 สำรวจกรณีกดปราบข้ามชาติ เงามืดที่ซุกซ่อนทั่วภูมิภาคอาเซียน 📍 2015 📍 2017 📍 2018 📍 2020 📍 2021 📍 2022 📍 2024 📍2025 ทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่ง ของเหตุอาชญากรรมข้ามชาติที่กระทำโดยรัฐ ที่เกิดขึ้นตลอด 10 ปีที่ผ่านมา เราเรียกอาชญากรรมเหล่านี้ว่า “การกดปราบข้ามชาติ (Transnational Repression; TNR)” การกดปราบข้ามชาติ คือ การที่รัฐบาลใช้อำนาจคุกคามพลเมืองของตนเองที่ลี้ภัยหรือพลัดถิ่นอยู่ในต่างประเทศ (ซึ่งในบางกรณี การคุกคามนี้ลามไปถึงสมาชิกครอบครัวที่ลี้ภัยไปด้วยกัน […]
wevis
ดูเหมือนว่าเส้นทางอาชีพสมาชิกวุฒิสภาหรือ สว. อาจไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ 🌹 (หรือเปล่านะ !!) แม้จะตั้งต้นเป็น ‘สภาบน’ ที่ต้องไม่ฝักใฝ่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดและรักษาไว้ซึ่งความเป็นอิสระ แต่ สว. ชุดใหม่นี้กลับถูกสังคมตั้งข้อครหานานัปการไม่เว้นวัน เริ่มตั้งแต่ระบบเลือกตั้งกันเองเพื่อให้ได้มาซึ่ง ‘สมาชิกวุฒิสภาจำนวน 200 คน’ อันแสนฉงน ประเด็น สว. มีวุฒิการศึกษาปลอม คดีฮั้ว สว. ที่ยังคงเป็นประเด็นร้อน หรือแม้แต่การแบ่งฝักฝ่ายภายในห้องประชุมจันทราที่สื่อมักชี้ให้เห็นว่ามี สว. กลุ่มสีน้ำเงินและกลุ่ม สว. พันธุ์ใหม่ ครบรอบ 1 ปี กับ 2 สมัยการประชุม ในการประชุมกว่า 50 ครั้งที่ขับเคลื่อนกลไกนิติบัญญัติ ให้ความเห็นชอบบุคคลดำรงตำแหน่งต่าง ๆ และลงมติต่อญัตติตามหน้าที่ที่บอกไว้ในรัฐธรรมนูญ เราเห็นอะไรบ้างจากผลการลงมติของ ‘นักการเมืองแต่งตั้งกันเอง’ กลุ่มนี้ที่ประชาชนไม่ได้เลือกมา ? Disclaimer: บทความชิ้นนี้วิเคราะห์ผลการลงมติของ สว. ชุดที่ 13 ในสมัยการประชุมสามัญปีที่ 2 หลังจากมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครอบคลุมระหว่างวันที่ 3 กรกฎาคม […]
Alawee Wamae

Stay up to date

Subscribe to our newsletter for news, project updates, and related events

Subscribe